วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

มวลอะตอม
 อะตอมเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีได้ มีรัศมีของอะตอมยาวประมาณ10-10 เมตร

อะตอมที่เบาที่สุดมีมวลประมาณ 1.6 x 10-24 กรัม อะตอมที่หนักที่สุดมีมวลประมาณ 250 เท่า ซึ่งมีค่าน้อยมาก  อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 สารละลาย
 ความหมายสารละลายเเละองค์ประกอบของสารละลาย
สารละลาย (solution) หมายถึง สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ

1. ตัวทำละลาย (solvent) หมายถึง สารที่มีความสามารถ ในการทำให้สารต่างๆ ละลายได้ โดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารนั้น อ่านเพิ่มเติม
บทที่4 สมการเคมี        

 สมการเคมีโดยทั่วไปแล้วจะใช้สัญลักษณ์แทนของธาตุต่าง ๆ มีลูกศรที่ชี้จากด้านซ้ายของสมการไปทางด้านขวาเพื่อบ่งบอกว่าสารตั้งต้น(reactant)ทางด้านซ้ายมือ ทำปฏิกิริยาเกิดสารใหม่ขึ้นมาเรียกว่าผลิตภัณฑ์ (product)ทางด้านขวามือ ดังนั้น จากสมการเคมีเราสามารถใช้คำนวณหาได้ว่าใช้สารตั้งต้นเท่าไรแล้วจะได้ผลิตภัณฑ์ออกมาเท่าไรอ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 การคำนวณปริมาณสารจากสมการเคมี 

                การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ  เราเขียนแสดงได้ด้วยสมการเคมี  สิ่งที่แสดงอยู่ในสมการเคมีจะประกอบด้วยสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ  รวมทั้งภาวะต่าง ๆ
ของการเกิดปฏิกิริยาด้วย  สมการเคมีจะช่วยให้เราคิดคำนวณค่าต่าง ๆ  ของการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น  เช่น  มวลหรือน้ำหนักของสารเคมีที่ถูกใช้ไป  หรือที่เกิดขึ้นใหม่
รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของพลังงานและอื่น ๆ  การคำนวณหาปริมาณสารจากสมการเคมีเป็นเรื่องใหญ่และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาวิชาเคมีในขั้นตอน อ่านเพิ่มเติม



บทที่ 5 สมบัติของของแข็ง

                     1. ปริมาตรคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดภาชนะที่บรรจุ
                     2. มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะ
                     3. มีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบ
                     4. สามารถระเหิดได้ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 สมบัติของแก๊ส
    1. สมบัติทั่วไปของแก๊ส  แก๊สทั่วไปจะมีสมบัติ  ดังนี้

        1.  แก๊สมีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน  เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ  บรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างและปริมาตรตามภาชนะนั้น  เพราะแก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก  จึงทำให้อนุภาคของแก๊ส
สามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 สมบัติของของเหลว

 1.  ของเหลวมีปริมาตรคงที่  เนื่องจากโมเลกุลของของเหลวอยู่เป็นกลุ่ม ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ  
โดยมีระยะห่างระหว่างกลุ่มเล็กน้อยและของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส  จึงทำให้โมเลกุลของของเหลวเ
คลื่อนที่ได้ระยะทางใกล้ ๆ  ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระเหมือนแก๊ส  จึงทำให้ของเหลวมีปริมาตรคงที่ไม่สามารถฟุ้งกระจาย
เต็มภาชนะ (มีปริมาตรเท่ากับภาชนะบรรจุ)  เหมือนแก๊ส  ปริมาตรของของเหลวเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเมื่อเปลี่ยนความดันและอุณหภูมิ อ่านเพิ่มเติม